Mind Mapping (เนื้อหา/ครู)
หน่วย : กล่องของเล่นวิเศษ (กล่องบรรจุและเก็บของเล่น /วิเศษ : วิทยาศาสตร์ที่ซ่อนอยู่ในของเล่น)
เป้ามายความเข้าใจUnderstanding Goals: สามารถเลือกเล่นและออกแบบc]tประดิษฐ์สร้างสรรค์ของเล่นที่มีคุณค่าเหมาะสมกับช่วงวัยและพัฒนาการ รวมทั้งดูแลรักษาของเล่นได้อย่างเหมาะสม
หน่วย : กล่องของเล่นวิเศษ (กล่องบรรจุและเก็บของเล่น /วิเศษ : วิทยาศาสตร์ที่ซ่อนอยู่ในของเล่น)
คำถามหลัก(Big Question)
: นักเรียนจะออกแบบสร้างสรรค์ประดิษฐ์ของเล่นที่มีคุณค่า
มีวิจารณญาณในการเลือกเล่นของเล่นให้เหมาะสมได้อย่างไร
ภูมิหลังของปัญหา:
สังคมในปัจจุบัน เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานของการดำเนินชีวิต จึงทำให้การเล่นของเล่นในสมัย ที่คุณพ่อ คุณแม่เล่น กับสมัยที่ลูกเล่นในปัจจุบันนั้น มีทั้งเหมือนและแตกต่างกัน สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือ ความไฮเทคของของเล่นซึ่งเป็นอีกส่วนหนึ่งที่เราควรดูแลเอาใจใส่และให้ความสำคัญกับของเล่น เมื่อสังคมโลกมีการเปลี่ยน แปลง เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึ้น จึงทำให้เด็กในยุคปัจจุบันติดการเล่น เกมออนไลน์ ติดเกมในมือถือ และ I Pad มากขึ้นส่งผลกระทบ ทางร่างกาย และจิตใจ ฟุ่มเฟือย เหม่อลอย การเรียนตกต่ำ และยังแสดงความก้าวร้าว หรือพฤติกรรมการเรียนแบบโดยใช้ความรุนแรง
ดังนั้นจากปัญหาที่เกิดขึ้นหน่วยของเล่นจึงเป็นหน่วยที่จะทำให้นักเรียนสามารถเกิดความเข้าใจกระบวนการในการเล่น การออกแบบประดิษฐ์ และสร้างสรรค์ของเล่นที่มีคุณค่าเหมาะสมกับช่วงวัยและพัฒนาการ รวมทั้งสามารถเลือกเล่นและดูแลรักษาของเล่นได้อย่างเหมาะสม
สังคมในปัจจุบัน เทคโนโลยีได้เข้ามาเสริมปัจจัยพื้นฐานของการดำเนินชีวิต จึงทำให้การเล่นของเล่นในสมัย ที่คุณพ่อ คุณแม่เล่น กับสมัยที่ลูกเล่นในปัจจุบันนั้น มีทั้งเหมือนและแตกต่างกัน สิ่งที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือ ความไฮเทคของของเล่นซึ่งเป็นอีกส่วนหนึ่งที่เราควรดูแลเอาใจใส่และให้ความสำคัญกับของเล่น เมื่อสังคมโลกมีการเปลี่ยน แปลง เทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทมากขึ้น จึงทำให้เด็กในยุคปัจจุบันติดการเล่น เกมออนไลน์ ติดเกมในมือถือ และ I Pad มากขึ้นส่งผลกระทบ ทางร่างกาย และจิตใจ ฟุ่มเฟือย เหม่อลอย การเรียนตกต่ำ และยังแสดงความก้าวร้าว หรือพฤติกรรมการเรียนแบบโดยใช้ความรุนแรง
ดังนั้นจากปัญหาที่เกิดขึ้นหน่วยของเล่นจึงเป็นหน่วยที่จะทำให้นักเรียนสามารถเกิดความเข้าใจกระบวนการในการเล่น การออกแบบประดิษฐ์ และสร้างสรรค์ของเล่นที่มีคุณค่าเหมาะสมกับช่วงวัยและพัฒนาการ รวมทั้งสามารถเลือกเล่นและดูแลรักษาของเล่นได้อย่างเหมาะสม
ตารางวิเคราะห์หัวเรื่องบูรณาการกับมาตรฐานการเรียนรู้
และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วยการเรียนรู้ กล่องของเล่นวิเศษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2 / 2558
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมฯ
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาฯ
|
ศิลปะฯ
|
การงานฯ
|
|
สร้างฉันทะ/สร้างแรงบันดาลใจ
-
เรื่องที่อยากเรียนรู้
-
เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
-
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
-
ปฏิทินการเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์
ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษา ตามความสนใจ
(ว 8.1 ป.2/1)
-
วางแผนการศึกษาค้นคว้า สำรวจ ตรวจสอบ
โดยใช้ความคิดของตนเอง ของกลุ่ม และผู้รู้ (ว 8.1ป.2/2)
-
ใช้เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการศึกษาค้นคว้า
ตรวจสอบ รวบรวมข้อมูล บันทึก หรือสรุปผลการเรียนรู้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 ป.2/3)
-
จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการตรวจสอบ
แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้ได้ (ว 8.1 ป.2/4-6)
|
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมเห็นคุณค่าของตนเอง ผู้อื่นระหว่างการทำงานร่วมกัน
(ส 1.1 ป. 2/5)
มาตรฐาน ส 1.2
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
(ส 1.2 ป. 2/1)
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
ยอมรับในความคิด
และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ส 2.1 ป. 2/3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
(ส 2.1 ป. 2/4)
จุดเน้นที่1
- มารยาทไทยพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะ มีกริยาสุภาพอ่อนหวาน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/1)
- แสดงออกถึงความเคารพ ช่วยเหลือเพื่อน คุณครู
หรือบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/2)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
สามารถศึกษาค้นคว้าสืบค้นได้หลากหลายโดยใช้หลักฐานที่หลากหลาย
(ส 4.1ป.5/1)
-
เข้าใจและสามารถระบุเวลา เหตุการณ์
เห็นความสัมพันธ์ของเวลา
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นและเข้าใจถึงความเปลี่ยนแปลง
(ส 4.1ป.2/1)
-
เข้าใจและสามารถลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่หลากหลาย
และสามารถวิเคราะห์แยกแยะข้อมูลได้
(ส 4.1ป.2/2)
|
มาตรฐาน พ 2.1
-
ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการเลือกหัวข้อและวางแผนการเรียนรู้ได้
(พ 2.1 ป. 2/1)
-
ให้เกียรติและบอกความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเลือก
การวางแผน รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 ป. 2/2)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
นำสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้เห็นสร้างงานศิลปะโดยการวาดภาพและบรรยายถึงสิ่งที่มองเห็นและเรื่องราวเนื้อหาของภาพได้
(ศ 1.1 ป. 2/7)
-สามารถสร้างสรรค์ผลงานวาดภาพประกอบผลงานปฏิทินการเรียนรู้และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ (ศ1.1
ป.3/6)
|
มาตรฐาน ง 1.1
ทำงานได้ด้วยตนเอง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง 1.1 ป. 2/3)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่ได้ดูได้ฟัง
และได้เห็นไปถ่ายทอดเป็นชิ้นงานภาพวาด รวมทั้งวางแผนล่วงหน้าในการเรียนได้
(ง 2.1 ป.2/4)
|
ประวัติความเป็นมา
ความหมาย
ความสำคัญ
|
มาตรฐาน
ว 8.1
- เข้าใจและสามารถตั้งคำถามสิ่งที่ต้องการศึกษาเรียนรู้ได้
(ว 8.1 ป.2/1)
-
เข้าใจและสามารถจัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างของเล่นในอดีตและปัจจุบันได้ (ว
8.1 ป.2/4)
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็น
รวบรวมความรู้เกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของของเล่นเป็นกลุ่มได้
(ว 8.1 ป.2/6)
- สามารถนำเสนอและอธิบายผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยวาจาและชิ้นงานได้
(ว 8.1 ป.2/8)
|
มาตรฐาน
ส 1.1
-ชื่นชม เห็นคุณค่าและบอก
แบบอย่างของการเล่นที่เหมาะสม (ส 1.1 ป.2/3)
ป.2/4)
มาตรฐาน
ส 5.2
-เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญและคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อวัตถุดิบในการทำของเล่นพื้นบ้านได้(ส
5.2 ป. 2/1)
-เข้าใจ และอธิบายความแตกต่างของของเล่นในเมืองและของเล่นในชนบท
รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของของเล่นได้ (ส 5.2 ป. 3/4)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
-เคารพและสามารถแสดงออก
ในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น(ส 2.1
มาตรฐาน
ส 2.1
-เข้าใจและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนเองได้โดยไม่มีอคติ
(ส 2.1 ป. 2/3)
-เห็นคุณค่าของวัฒนธรรมการเล่นแต่ละพื้นถิ่น
รวมทั้งเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมที่หลากหลาย(ส 2.1 ป. 2/3)
จุดเน้นที่1
- มารยาทไทยพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะ มีกริยาสุภาพอ่อนหวาน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/1)
- แสดงออกถึงความเคารพ ช่วยเหลือเพื่อน คุณครู
หรือบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/2)
จุดเน้นที่3
- ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและหน้าที่ของตนเอง เช่น การแต่งกาย
การเข้าแถว และการดูแลพื้นที่ของตนเองหลังจากทำงานเสร็จเรียบร้อย
(จุดเน้นที่3 3.1 ป.2/6)
รู้หน้าที่ของตนเอง เป็นผู้นำและสมาชิกที่ดี
มีรับผิดชอบต่อการทำงาน (จุดเน้นที่3 3.2ป.2/7)
|
มาตรฐาน
ส 4.2
-เข้าใจ สามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของการเล่นไทยในอดีตและปัจจุบันได้
(ส 4.2 ป. 3/3)
มาตรฐาน
ส
4.3
-เข้าใจและสามารถยกตัวอย่างและอธิบายภูมิปัญญาในการประดิษฐ์ของเล่นที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้
(ส 4.3 ป. 2/2)
|
มาตรฐาน
พ 2.1
-เข้าใจ เห็นคุณค่าของ
ตนเอง และผู้อื่น มีพฤติกรรมที่เหมาะสมตามวัย
มีทักษะในการดำเนินชีวิต (พ 2.1 ป. 2/3)
-
สามารถปฏิบัติตนในการป้องกันและหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุระหว่างการเล่นได้ (พ 5.1 ป. 2/1)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
เข้าใจและสามารถวาดภาพระบายสีประกอบการสรุปการเรียนรู้เกี่ยวกับที่มาของของเล่นได้อย่างเหมาะสม
(ศ1.1 ป. 2/2)
-มีทักษะพื้นฐานในการใช้อุปกรณ์ในการปั้นดินน้ำมันเป็นของเล่นรูปสัตว์
ต่างๆอย่างเหาะสม(ศ1.1 ป. 2/4)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-สามารถศึกษาค้นคว้าข้อมูลของประวัติความเป็นมา
ความหมายและความสำคัญของของเล่นได้ด้วยตนเอง(ง 1.1 ป.2/3)
-ใช้กระบวนการกลุ่มในการทำงาน (ง1.1)
มาตรฐาน
ง.2.1
- มีความคิดสร้างสรรค์และสามารถประดิษฐ์ของเล่น 3 มิติได้
(ง 2.1 ป. 2/4)
|
ประเภท
- ของเล่นพื้นบ้าน
- ของเล่นสมัยนิยม
|
มาตรฐาน
ว 3.1
- สามารถระบุชนิดและเปรียบเทียบคุณสมบัติของวัสดุที่นำมาทำของเล่นพื้นบ้านและของเล่นสมัยนิยมได้
(ว 3.1 ป. 2/1)
-
สามารถเลือกใช้วัสดุในกรทำของเล่นพื้นบ้านและของเล่นสมัยนิยมได้อย่างเหมาะสมและปลอดภัย
(ว 3.1 ป. 2/1)
มาตรฐาน
ว 4.1
-ทดลองและสร้างของเล่นโดยใช้แม่เหล็กพร้อมทั้งอธิบายแรงและการเคลื่อนที่จากแม่เหล็กได้(ว4.1 ป. 2/1)
-เข้าใจและสามารถอธิบายการนำแม่เหล็กมาใช้ในการประดิษฐ์ของเล่นได้
(ว4.1 ป. 2/2)
-ทดลอง เข้าใจ
และสามารถอธิบายไฟฟ้าที่เกิดจากการถูกันของวัตถุ สามารถนำมาออกแบบและทำเป็นของเล่นได้(ว4.1 ป. 2/3)
มาตรฐาน
ว 8.1
-
เข้าใจและสามารถจัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างของเล่นพื้นบ้านและของเล่นสมัยนิยมได้
(ว 8.1 ป.2/4)
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็น
รวบรวมความรู้เกี่ยวกับของเล่นพื้นบ้านและของเล่นสมัยนิยมเป็นกลุ่มได้
(ว 8.1 ป.2/6)
-
สามารถนำเสนอและอธิบายผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยวาจาและชิ้นงานได้
(ว 8.1 ป.2/8)
|
มาตรฐาน
ส 3.1
-เข้าใจและสามารถระบุวัสดุ และทรัพยากรพื้นถิ่นที่นำมาทำเป็นของเล่นได้(ส3.1ป.2/1)
-เข้าใจและสามารถบอกความจำเป็นของการเล่น
การซื้อของเล่นที่เหมาะสมกับการใช้จ่ายของครอบครัวและตนเอง(ส3.1ป.2/2)
-สรุปข้อดีของการเล่นของเล่นที่ไม่สิ้นเปลืองรายจ่ายและมีเงินเหลือออมได้(ส3.1ป.2/4)
มาตรฐาน
ส 5.1
-เข้าใจและสามารถระบุวัสดุธรรมชาติที่มีในชุมชนและโรงเรียนที่สามารถนำมาทำของเล่นได้(ส
5.1ป.2/1)
มาตรฐาน
ส 5.1
-เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญและคุณค่าของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติที่นำมาทำของเล่นได้อย่างเหมาะสม
(ส 5.1 ป.2/1)
-เข้าใจฤดูกาลที่มีความสัมพันธ์กับของเล่นและวัสดุในการทำของเล่น(ส
5.1 ป.2/3)
|
มาตรฐาน
ส 2.1
-เคารพและสามารถแสดงออกในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่น(ส2.1ป.2/3)
-เข้าใจและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนเองได้โดยไม่มีอคติ
(ส 2.1 ป. 2/3)
-เห็นคุณค่าของวัฒนธรรมการเล่นแต่ละพื้นถิ่น
รวมทั้งเข้าใจความแตกต่างทางวัฒนธรรมการเล่นที่หลากหลาย(ส 2.1 ป. 2/3)
จุดเน้นที่1
- มารยาทไทยพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะ มีกริยาสุภาพอ่อนหวาน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/1)
- แสดงออกถึงความเคารพ ช่วยเหลือเพื่อน คุณครู
หรือบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/2)
จุดเน้นที่3
- ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและหน้าที่ของตนเอง เช่น การแต่งกาย
การเข้าแถว และการดูแลพื้นที่ของตนเองหลังจากทำงานเสร็จเรียบร้อย
(จุดเน้นที่3 3.1 ป.2/6)
รู้หน้าที่ของตนเอง เป็นผู้นำและสมาชิกที่ดี
มีรับผิดชอบต่อการทำงาน (จุดเน้นที่3 3.2ป.2/7)
|
มาตรฐาน
ส 4.2
-เข้าใจ สามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของการเล่นไทยในอดีตและปัจจุบันได้
(ส 4.2 ป. 3/3)
มาตรฐาน
ส
4.3
-เข้าใจและสามารถยกตัวอย่างและอธิบายภูมิปัญญาในการประดิษฐ์ของเล่นที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้
(ส 4.3 ป. 2/2)
|
มาตรฐาน
พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายพัฒนาการของร่างที่เหมาะสมกับของเล่นแต่ละประเภท (พ2.1 ป.2/3)มาตรฐาน พ 4.1
-สามารถระบุของเล่นพื้นบ้านและของเล่นสมัยนิยมที่มีผลดีต่อสุขภาพได้
(พ 4.1 ป.2/3)
มาตรฐาน
พ
5.1
-
สามารถปฏิบัติตนในการป้องกันและหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุระหว่างการเล่นได้ (พ 5.1 ป. 2/1)
|
มาตรฐาน
ศ 1.1
เข้าใจและสามารถวาดภาพระบายสีประกอบการสรุปการเรียนรู้เกี่ยวกับที่มาของของเล่นได้อย่างเหมาะสม
(ศ1.1 ป. 2/2)
-มีทักษะพื้นฐานในการใช้อุปกรณ์ในการปั้นดินน้ำมันเป็นของเล่นรูปสัตว์
ต่างๆอย่างเหาะสม(ศ1.1 ป. 2/4)
มาตรฐาน
ศ 1.2
เข้าใจและสามารถระบุความงามและการออกแบบของเล่นต่างๆแล้วตกแต่งสร้างสรรค์โดยใช้วัสดุพื้นถิ่น
(ศ 1.2 ป.2/2)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำของเล่นพื้นบ้านและของเล่นสมัยนิยมได้อย่างเหมาะสมกับงาน
(ง 1.1 ป. 2/2)
-ทำชิ้นงานของเล่นด้วยตนเองโดยใช้วัสดุพื้นถิ่นที่ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
(ง 1.1 ป.2/3)
มาตรฐาน
ง 2.1
-สร้างของเล่นอย่างง่ายโดยการกำหนดเป้าหมายและการออกแบบการเล่นได้เหมาะสมและปลอดภัย(ง
2.1 ป.2/2)
- สามารถนำความรู้ในการใช้เครื่องมือต่างๆ
ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างของเล่นได้อย่างถูกวิธี
(ง 2.1 ป.2/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการเล่นและการเล่นผ่านของเล่น
ด้วยวิธีการที่เหมาะสม (ง 2.1 ป. 2/4)
|
แหล่งที่มา
- ของเล่นจากธรรมชาติ
- ของเล่นจากการประดิษฐ์
|
มาตรฐาน
ว 8.1
-
เข้าใจและสามารถจัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบระหว่างของเล่นจากธรรมชาติและของเล่นจากการประดิษฐ์ได้
(ว 8.1 ป.2/4)
- เข้าใจและสามารถแสดงความคิดเห็น
รวบรวมความรู้เกี่ยวกับของเล่นจากธรรมชาติและของเล่นจากการประดิษฐ์ได้ (ว 8.1 ป.2/6)
- สามารถนำเสนอและอธิบายผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจด้วยวาจาและชิ้นงานได้
(ว 8.1 ป.2/8)
|
มาตรฐาน
ส 5.2
-เข้าใจและสามารถอธิบายทรัพยากรธรรมชาติ
เป็นแหล่งวัตถุดิบในการผลิตของเล่น ที่นับวันจะสูญเสียไปพร้อมทั้งหาแนวทางป้องกันได้
(ส 5.2 ป.2/1)
-อธิบายความสัมพันธ์ของฤดูกาลที่มีผลต่อการเล่นและการประดิษฐ์ของเล่น
(ส 5.2 ป.2/3)
-เข้าใจและอธิบายผลกระทบจากการสร้างของเล่นโดยการประดิษฐ์และของเล่นจากธรรมชาติที่มีต่อโลกพร้อมทั้งหาแนวทางแก้ไขได้
(ส 5.2 ป.2/4)
|
มาตรฐาน
พ 2.1
-มีสัมพันธภาพที่ดีต่อเพื่อนในการเล่นและการทำงานร่วมกัน(พ 2.1 ป.3/2)
มาตรฐาน
พ
5.1
-
สามารถปฏิบัติตนในการป้องกันและหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุระหว่างการเล่นได้ (พ 5.1 ป. 2/1)
จุดเน้นที่1
- มารยาทไทยพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะ มีกริยาสุภาพอ่อนหวาน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/1)
- แสดงออกถึงความเคารพ ช่วยเหลือเพื่อน คุณครู
หรือบุคคลอื่นๆ ในโรงเรียน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/2)
จุดเน้นที่3
- ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและหน้าที่ของตนเอง เช่น การแต่งกาย
การเข้าแถว และการดูแลพื้นที่ของตนเองหลังจากทำงานเสร็จเรียบร้อย
(จุดเน้นที่3 3.1 ป.2/6)
รู้หน้าที่ของตนเอง เป็นผู้นำและสมาชิกที่ดี
มีรับผิดชอบต่อการทำงาน (จุดเน้นที่3 3.2ป.2/7)
|
มาตรฐาน
ส 4.2
-เข้าใจ สามารถวิเคราะห์เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของการเล่นไทยในอดีตและปัจจุบันได้
(ส 4.2 ป. 3/3)
มาตรฐาน
ส
4.3
-เข้าใจและสามารถยกตัวอย่างและอธิบายภูมิปัญญาในการประดิษฐ์ของเล่นที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้
(ส 4.3 ป. 2/2)
|
มาตรฐาน
พ 2.1
-
เข้าใจและสามารถอธิบายพัฒนาการของร่างที่เหมาะสมกับของเล่นแต่ละประเภท (พ2.1 ป.2/3)มาตรฐาน พ 4.1
-สามารถระบุของเล่นพื้นบ้านและของเล่นสมัยนิยมที่มีผลดีต่อสุขภาพได้
(พ 4.1 ป.2/3)
มาตรฐาน
พ
5.1
-
สามารถปฏิบัติตนในการป้องกันและหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุระหว่างการเล่นได้ (พ 5.1 ป. 2/1)
|
มาตรฐาน
ง 2.1
-สร้างของเล่นอย่างง่ายโดยการกำหนดเป้าหมายและการออกแบบโดยถ่ายทอดผ่านวัตถุดิบจากธรรมชาติ
(ง 2.1 ป.2/2)
- สามารถนำความรู้ในการใช้เครื่องมือต่างๆ
ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างของเล่นได้อย่างถูกวิธี
(ง 2.1 ป.2/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถประดิษฐ์ของเล่นจากธรรมชาติได้
(ง 2.1 ป. 2/4)
|
มาตรฐาน
ง 1.1
-ใช้วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือในการทำของเล่นพื้นบ้านและของเล่นสมัยนิยมได้อย่างเหมาะสมกับงาน
(ง 1.1 ป. 2/2)
-ทำชิ้นงานของเล่นด้วยตนเองโดยใช้วัสดุพื้นถิ่นที่ไม่สิ้นเปลืองค่าใช้จ่าย
(ง 1.1 ป.2/3)
มาตรฐาน
ง 2.1
-สร้างของเล่นอย่างง่ายโดยการกำหนดเป้าหมายและการออกแบบการเล่นได้เหมาะสมและปลอดภัย(ง
2.1 ป.2/2)
- สามารถนำความรู้ในการใช้เครื่องมือต่างๆ
ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างของเล่นได้อย่างถูกวิธี
(ง 2.1 ป.2/3)
- มีความคิดสร้างสรรค์ในการเล่นและการเล่นผ่านของเล่น
ด้วยวิธีการที่เหมาะสม (ง 2.1 ป. 2/4)
|
สาระการเรียนรู้
|
มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชาและตัวชี้วัด
|
||||||
วิทยาศาสตร์
|
สังคมฯ
|
หน้าที่พลเมือง
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาฯ
|
ศิลปะฯ
|
การงานฯ
|
|
สรุปองค์ความรู้
-วิเคราะห์สรุปสิ่งที่อยากเรียนรู้
-วิเคราะห์สิ่งที่ดีแล้ว สิ่งที่ควรปรับปรุง
- สรุปองค์ความรู้หลังเรียนรู้
( Mind
Mappingหรือ การ์ตูนช่อง)
-นำเสนอการสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
มาตรฐาน ว 8.1
-
ใช้กระบวนการการทางวิทยาศาสตร์ ตั้งคำถามและหาคำตอบเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้ในปัจจุบันและอนาคตผ่านการทำชิ้นงานแผนภาพความคิดและการแสดงแล้วนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจสิ่งที่ตนเองศึกษา(ว8.1
ป.2/1)
-
จัดกลุ่มข้อมูลเปรียบเทียบและนำเสนอผลการศึกษาเรียนรู้ แสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มรวบรวม และสรุปความรู้จากสิ่งที่อยากเรียนรู้พร้อมทั้งระบุสิ่งที่ดีแล้วและสิ่งที่ควรปรับปรุงในการเรียนรู้ได้ (ว8.1 ป.2/4-6)
-
บันทึกและอธิบายผลการศึกษาค้นคว้า การตรวจสอบ โดยสรุปเป็นMind
Mapping หรือคำอธิบาย แล้วนำเสนอผลงานให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านรูปแบบหรือวิธีการที่หลากหลายได้อย่างเหมาะสม (ว8.1 ป.2/7-8)
|
มาตรฐาน ส 1.1
ชื่นชมเห็นคุณค่าของตนเอง
ผู้อื่นระหว่างการทำงานร่วมกัน
(ส 1.1 ป. 2/5)
มาตรฐาน ส 1.2
ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง
(ส 1.2 ป. 2/1)
|
มาตรฐาน ส2.1
- ยอมรับในความคิด และความเชื่อของของผู้อื่นที่มีความแตกต่างจากตนเองในการเลือกและกำหนดสิ่งที่อยากเรียนรู้
(ส 2.1 ป. 2/3)
-
เคารพและให้เกียรติในสิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อื่นในการเลือกและตัดสินใจ
อย่างไม่มีอคติ
(ส 2.1 ป. 2/4)
จุดเน้นที่1
มารยาทไทยพูดจาด้วยถ้อยคำที่ไพเราะ
มีกริยาสุภาพอ่อนหวาน
(จุดเน้นที่1 1.1 ป.2/1)
จุดเน้นที่3
ปฏิบัติตามกฎ ระเบียบและหน้าที่ของตนเอง
เช่นการแต่งกาย การเข้าแถว และการดูแลพื้นที่ของตนเองหลังจากทำงานเสร็จเรียบร้อย
(จุดเน้นที่3
3.1 ป.2/6)
รู้หน้าที่ของตนเอง เป็นผู้นำและสมาชิกที่ดี มีรับผิดชอบต่อการทำงาน
(จุดเน้นที่3 3.2ป.2/7)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
วัฒนธรรมการเล่นและของเล่นรวมทั้งพัฒนาการหรือการเปลี่ยนแปลงการเล่นและของเล่นที่เกิดขึ้นจากอดีตถึงปัจจุบัน และอนาคต (ส
4.1
ป.
3/1)
มาตรฐาน ส 4.2
เข้าใจและสามารถอธิบายถึงความเปลี่ยนแปลงในชีวิตประจำวันและผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อวิถีชีวิตและการเล่นของคนในชุมชน (ส 4.2 ป. 2/1-2)
|
มาตรฐาน พ2.1
-
ระบุบทบาทหน้าที่ของตนเองต่อสมาชิกในกลุ่มและเพื่อนร่วมชั้นในการวางแผนสรุปการเรียนรู้
(พ 2.1 ป. 2/1)
-
ให้เกียรติและเห็นความสำคัญของเพื่อนต่อกระบวนการเรียน การทำงาน
รวมทั้งการทำกิจกรรมต่างๆร่วมกันได้
(พ 2.1 ป. 3/2)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
ใช้วัตถุดิบอุปกรณ์ในการสร้างสรรค์ผลงานทัศนศิลป์ได้อย่างเหมาะสม
(ศ 1.1 ป.2/4)
-สามารถสร้างสรรค์ผลงานและออกแบบภาพประกอบการ์ตูน
นิทานเพื่อตกแต่งผลงานพร้อมทั้งนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้(ศ1.1 ป.2/1-7)
มาตรฐาน ศ 2.1
สามารถร้องเพลงประกอบการแสดงสรุปการเรียนรู้
พร้อมทั้งเคลื่อนไหวท่าทางได้เหมาะสมสอดคล้องกับเพลงที่ร้อง (ศ2.1 ป.3/5)
มาตรฐาน ศ 3.1
มีมารยาทในการเป็นผู้ชมและผู้แสดงที่เหมาะสม
(ศ 3.1 ป.2/5)
|
มาตรฐาน ง1.1
ทำงานได้ด้วยตนเอง
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและมีความระมัดระวังรอบคอบในการทำงาน
(ง 1.1 ป. 2/3)
มาตรฐาน ง 2.1
มีความคิดสร้างสรรค์สามารถนำสิ่งที่เรียนรู้ไปถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ง 2.1 ป.2/4)
|
สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
การเรียนรู้บูรณาการ Problem based
Learning (PBL)
หน่วยการเรียนรู้ “กล่องของเล่นวิเศษ”
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 Quarter 3 /2558
สิ่งที่รู้แล้ว
|
สิ่งที่อยากเรียนรู้
|
-
ของเล่นสีสีสันหลากหลาย
-
ต้นไผ่สามารถนำมาทำของเล่นได้
-
ของเล่นเป็นสิ่งไม่มีชีวิต
-
ของเล่นบางชนิดเคลื่อนที่เองได้ เพราะใช้ถ่าน
-
ของเล่นบางชนิดมีโทษ และบางชนิดมีประโยชน์
-
เราต้องเล่นของเล่นที่ตรงกับวัย
-
เลโกต่อเป็นตึกได้
-
เราสามารถทำของเล่นจากของเหลือใช้ได้
-
พลาสติกเอาไปทำเป็นของเล่นได้
-
ของเล่นบางชนิดยืดหยุ่นได้
|
-ทำไมของเล่นต่างๆทำให้เด็กๆสนใจ
-ทำไมของเล่นจึงมีราคาแพง
-ของเล่นมีกี่ชนิด
-ทำไม้เป็นของเล่นอะไรได้บ้าง
-ทำไมของเล่นแต่ละที่ไม่เหมือนกัน
-ทำไมของเล่นบางชนิดจึงมีเสียงได้
-ใช้อะไรทำของเล่นได้บ้าง
-เราสามารถรู้ได้อย่างไรว่าของเล่นชนิดไหนมีโทษ
-
ทำไมเลโกต้องมีปุ่ม
-ทำไมเด็กชอบของเล่น
-ของเล่นมีประโยชน์อะไรบ้าง
-
ทำไมของเล่นบางชนิดร่อนได้ ร่อนอย่างไร
-
ของเล่นไฟฟ้ามีอะไรบ้าง
เอาถุงเท้ามาทำตุ๊กตาได้อย่างไร
-ทำไมดินน้ำมันจึงนิ่มเวลาถูกแดด
-
ทำไมดินน้ำมันบางชนิดราคาแพง
-
เราจะสามารถทำของเล่นที่เคลื่อนที่ หรือขยับเองได้อย่างไร
|
ปฎิทินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
Problem Based Learning (PBL)
หน่วย: " กล่องของเล่นวิเศษ "
หน่วย: " กล่องของเล่นวิเศษ "
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 Quarter 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
1
26 – 30
ต.ค. 58
|
โจทย์ :
สิ่งที่อยากเรียนรู้
คำถาม - กระดาษ 1 แผ่น สามารถทำของเล่นอะไรได้บ้าง
- นักเรียนต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องอะไร
-
นักเรียนจะตั้งชื่อสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ว่าอย่างไร
เครื่องมือคิด - Round Robin เกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ประทับใจในช่วง วันหยุด - Card and Chart เขียนสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน Quarter นี้ พร้อมให้เหตุผลว่าเพราะอะไรจึงอยากเรียนรู้ - Think Pair Share ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ - Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน - Wall Thinking ติดชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - กระดาษ - คลิปการประดิษฐ์ของเล่น |
กิจกรรม
- ประดิษฐ์จรวดกระดาษ
- ครูและนักเรียน
สนทนาเกี่ยวกับการเล่นของเล่นที่ประทับใจ
- นักเรียนดูการ์ตูน "ทอย สตอรี่"
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดูและสรุปสิ่งที่ตนเองชอบ เพราะเหตุใด - เลือกหน่วยการเรียนรู้
- ออกแบบและเขียนป้ายชื่อหน่วย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- เขียนสรุปสิ่งที่ตนเองชอบ พร้อมเหตุผล
- ร่วมกันตั้งชื่อโครงงานที่น่าสนใจ
- เขียน ป้ายชื่อหน่วย
-
เขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สรุปสิ่งที่ตนเองชอบ พร้อมเหตุผล
-
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
Mind mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
สามารถพูดอธิบายพร้อมกับตั้งคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสนใจและสามารถเลือกสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้ได้ ทักษะ : ทักษะชีวิต ทำงานอย่างมีเป้าหมายและมีการวางแผนในการประดิษฐ์ของเล่น ทักษะการสื่อสาร พูด/ถ่ายทอดเหตุการณ์ที่ตนเองประทับใจในวันหยุดที่ผ่านมาได้โดยผู้รับฟังสามารถเข้าใจ ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานเป็นกลุ่มได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น คุณลักษณะ - รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
2
2 – 6
พ.ย. 58
|
โจทย์ : วางแผนการเรียนรู้
คำถาม
-
นักเรียนจะออกแบบแผนการเรียนรู้ใน Quarter อย่างไร
- นักเรียนรู้แล้วและอยากเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับ”ของเล่น”บ้าง
เครื่องมือคิด
- Brainstorms ระดมความคิดเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ / ปฎิทินการเรียนรู้ - Wall Thinking ติดชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - หนังสือ
- โทรศัพท์มือถือ
- ห้องสมุด
- คลิปการประดิษฐ์ของเล่น |
กิจกรรม
-
เขียนสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้
- ดูคลิปเกี่ยวกับทำของเล่น
-
วิเคราะห์สิ่งที่ได้ดูและอภิปรายร่วมกัน
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์ - สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
ระดมสมองวิเคราะห์ข้อมูล
- เขียนสิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้ - ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์ - สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สิ่งที่รู้แล้วและอยากเรียนรู้ - ปฏิทินการเรียนรู้ 10 สัปดาห์ - สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้
และสามารถวางแผนการเรียนรู้ของตนเองร่วมกับผู้อื่นได้ อย่างมีขั้นตอน
และสร้างสรรค์
ทักษะ ทักษะชีวิต - ออกแบบปฏิทินได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ - เก็บกวาดอุปกรณ์หลังใช้งานทุกครั้ง ทักษะการสื่อสาร สามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับปฏิทินการเรียนรู้ให้ครูและเพื่อนฟังได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานเป็นกลุ่มได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
3
9 – 13 พ.ย. 58 |
โจทย์ :
ของเล่นกระดาษ
คำถาม
- นักเรียนจะสามารถออกแบบและประดิษฐ์ของเล่นจากกระดาษให้มีคุณค่า มีประโยชน์และเหมาะสมกับตนเองอย่างไร - นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากของเล่นกระดาษ เครื่องมือคิด - Flow Chart เกี่ยวกับขั้นตอนการประดิษฐ์ของเล่น - Round robinถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการเก็บรักษา - Wall Thinking ติดชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - หนังสือ
- อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
|
กิจกรรม
- นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากกระดาษผ่าน
I PAD
- วางแผนถึงอุปกรณ์และขั้นตอนที่จะนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่นที่ตนเองสนใจในรูปแบบการเขียน
- ลงมือประดิษฐ์ของเล่นจากกระดาษที่ตนเองสนใจ
- ทดลองเล่น ของเล่นจากกระดาษที่ตนเองประดิษฐ์ - ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับของเล่นจากการะดาษ เช่น ประโยชน์ (วิทยาศาสตร์ ,กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่)ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น และวิธีแก้ไขปัญหาและพัฒนาของเล่นจากกระดาษนั้นอย่างไร - สรุปขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์และโทษที่ได้จากของเล่นกระดาษ วิธีการดูแลรักษา ในรูปแบบของการ์ตูนช่อง และนำเสนอผลงานให้เพื่อนและครูฟังในชั้นเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากกระดาษ
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - อภิปรายถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการดูแลรักษา - ประดิษฐ์ของเล่น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
วางแผน ออกแบบการประดิษฐ์ของเล่น
รู้ถึงคุณค่าของของเล่น วิธีเก็บรักษาและเลือกเล่นของเล่นจากกระดาษที่เหมาะสมกับตัวเองได้
ทักษะ ทักษะชีวิต - ออกแบบชิ้นงานได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ - เก็บกวาดอุปกรณ์หลังใช้งานทุกครั้ง ทักษะการสื่อสาร สามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการทำให้ครูและเพื่อนฟังได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานได้อย่างเหมาะสม ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4
16 – 20 พ.ย. 58 |
โจทย์
:
ไม้และวัสดุจากธรรมชาติ
คำถาม
- นักเรียนจะสามารถออกแบบและประดิษฐ์ของเล่นจากไม้และวัสดุธรรมชาติให้มีคุณค่า
มีประโยชน์และเหมาะสมกับตนเองอย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากของเล่นจากไม้และวัสดุธรรมชาติ เครื่องมือคิด - Flow Chart เกี่ยวกับขั้นตอนการประดิษฐ์ของเล่น - Round robinถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการเก็บรักษา - Wall Thinking ติดชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - หนังสือ
-
อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
|
กิจกรรม
-
นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากไม้และวัสดุจากธรรมชาติผ่าน
I PAD
-
วางแผนถึงอุปกรณ์และขั้นตอนที่จะนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่นที่ตนเองสนใจในรูปแบบการเขียน
- ลงมือประดิษฐ์ของเล่นจากไม้และวัสดุจากธรรมชาติที่ตนเองสนใจ
- ทดลองเล่น ของเล่นจากไม้และวัสดุจากธรรมชาติที่ตนเองประดิษฐ์ - ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับของเล่นจากไม้และวัสดุจากธรรมชาติ เช่น ประโยชน์ (วิทยาศาสตร์ ,กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่)ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น และวิธีแก้ไขปัญหาและพัฒนาของเล่นจากไม้และวัสดุจากธรรมชาตินั้นอย่างไร - สรุปขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์และโทษที่ได้จากของเล่นไม้และวัสดุจากธรรมชาติ วิธีการดูแลรักษา ในรูปแบบของการ์ตูนช่อง และนำเสนอผลงานให้เพื่อนและครูฟังในชั้นเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากกระดาษ
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - อภิปรายถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการดูแลรักษา - ประดิษฐ์ของเล่น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
วางแผน
ออกแบบการประดิษฐ์ของเล่น รู้ถึงคุณค่าของของเล่น วิธีเก็บรักษาและเลือกเล่นของเล่นที่ทำจากไม้ที่เหมาะสมกับตัวเองได้
ทักษะ ทักษะชีวิต - ออกแบบชิ้นงานได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ - เก็บกวาดอุปกรณ์หลังใช้งานทุกครั้ง ทักษะการสื่อสาร สามารถพูดอธิบายขั้นตอนการทำให้ครูและเพื่อนฟังได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานเป็นกลุ่มได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
23 – 27 พ.ย. 58 |
โจทย์
:
ผ้า
คำถาม
-
นักเรียนจะสามารถออกแบบและประดิษฐ์ของเล่นจากผ้าให้มีคุณค่า
มีประโยชน์และเหมาะสมกับตนเองอย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากของเล่นจากผ้า
เครื่องมือคิด
- Flow Chart เกี่ยวกับขั้นตอนการประดิษฐ์ของเล่น - Round robinถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการเก็บรักษา - Wall Thinking ติดชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - หนังสือ
-
อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
|
กิจกรรม
-
นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากผ้าผ่าน I
PAD
-
วางแผนถึงอุปกรณ์และขั้นตอนที่จะนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่นที่ตนเองสนใจในรูปแบบการเขียน
- ลงมือประดิษฐ์ของเล่นจากผ้าที่ตนเองสนใจ
- ทดลองเล่น ของเล่นจากผ้าที่ตนเองประดิษฐ์ - ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับของเล่นจากผ้า เช่น ประโยชน์ (วิทยาศาสตร์ ,กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่)ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น และวิธีแก้ไขปัญหาและพัฒนาของเล่นผ้านั้นอย่างไร - สรุปขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์และโทษที่ได้จากของเล่นผ้า วิธีการดูแลรักษา ในรูปแบบของการ์ตูนช่อง และนำเสนอผลงานให้เพื่อนและครูฟังในชั้นเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากกระดาษ
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - อภิปรายถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการดูแลรักษา - ประดิษฐ์ของเล่น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
วางแผน
ออกแบบการประดิษฐ์ของเล่น รู้ถึงคุณค่าของของเล่น วิธีเก็บรักษาและเลือกเล่นของเล่นที่ทำจากผ้าที่เหมาะสมกับตัวเองได้
ทักษะ ทักษะชีวิต - ออกแบบชิ้นงานได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ - เก็บกวาดอุปกรณ์หลังใช้งานทุกครั้ง ทักษะการสื่อสาร สามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการทำให้ครูและเพื่อนฟังได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานเป็นกลุ่มได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6
30 – 4
ธ.ค. 58
|
โจทย์ :
พลาสติก
คำถาม
-
นักเรียนจะสามารถออกแบบและประดิษฐ์ของเล่นจากพลาสติกให้มีคุณค่า มีประโยชน์และเหมาะสมกับตนเองอย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากของเล่นจากพลาสติก เครื่องมือคิด - Flow Chart เกี่ยวกับขั้นตอนการประดิษฐ์ของเล่น - Round robinถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการเก็บรักษา - Wall Thinking ติดชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - หนังสือ
-
อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
|
กิจกรรม
-
นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากพลาสติกผ่าน
I PAD
-
วางแผนถึงอุปกรณ์และขั้นตอนที่จะนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่นที่ตนเองสนใจในรูปแบบการเขียน
- ลงมือประดิษฐ์ของเล่นจากพลาสติกที่ตนเองสนใจ
- ทดลองเล่น ของเล่นจากพลาสติกที่ตนเองประดิษฐ์ - ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับของเล่นจากพลาสติก เช่น ประโยชน์ (วิทยาศาสตร์ ,กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่)ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น และวิธีแก้ไขปัญหาและพัฒนาของเล่นผ้านั้นอย่างไร - สรุปขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์และโทษที่ได้จากของเล่นพลาสติก วิธีการดูแลรักษา ในรูปแบบของการ์ตูนช่อง และนำเสนอผลงานให้เพื่อนและครูฟังในชั้นเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
-
ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากกระดาษ
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - อภิปรายถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการดูแลรักษา - ประดิษฐ์ของเล่น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
วางแผน
ออกแบบการประดิษฐ์ของเล่น รู้ถึงคุณค่าของของเล่น วิธีเก็บรักษาและเลือกเล่นของเล่นที่ทำจากพลาสติกที่เหมาะสมกับตัวเองได้
ทักษะ ทักษะชีวิต - ออกแบบชิ้นงานได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ - เก็บกวาดอุปกรณ์หลังใช้งานทุกครั้ง ทักษะการสื่อสาร สามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการทำให้ครูและเพื่อนฟังได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานเป็นกลุ่มได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
7
7 – 11
ธ.ค. 58
|
โจทย์ :
ปูนพลาสเตอร์
คำถาม
-
นักเรียนจะสามารถออกแบบและประดิษฐ์ของเล่นจากปูนพลาสเตอร์ให้มีคุณค่า
มีประโยชน์และเหมาะสมกับตนเองอย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรจากของเล่นจากปูนพลาสเตอร์ เครื่องมือคิด - Flow Chart เกี่ยวกับขั้นตอนการประดิษฐ์ของเล่น - Round robinถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการเก็บรักษา - Wall Thinking ติดชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - หนังสือ
-
อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
|
กิจกรรม
-
นักเรียนศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากปูปูนพลาสเตอร์ผ่าน
I PAD
-
วางแผนถึงอุปกรณ์และขั้นตอนที่จะนำมาประดิษฐ์เป็นของเล่นที่ตนเองสนใจในรูปแบบการเขียน
- ลงมือประดิษฐ์ของเล่นจากปูนพลาสเตอร์ที่ตนเองสนใจ
- ทดลองเล่น ของเล่นจากปูนพลาสเตอร์ที่ตนเองประดิษฐ์ - ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับของเล่นจากปูนพลาสเตอร์ เช่น ประโยชน์ (วิทยาศาสตร์ ,กล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่)ปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้น และวิธีแก้ไขปัญหาและพัฒนาของเล่นผ้านั้นอย่างไร - สรุปขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์และโทษที่ได้จากของเล่นปูนพลาสเตอร์ วิธีการดูแลรักษา ในรูปแบบของการ์ตูนช่อง และนำเสนอผลงานให้เพื่อนและครูฟังในชั้นเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
-
ค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับของเล่นที่ทำจากกระดาษ
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - อภิปรายถึงขั้นตอนการประดิษฐ์ การเล่น ประโยชน์ที่ได้จากของเล่น วิธีการดูแลรักษา - ประดิษฐ์ของเล่น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- ขั้นตอนการประดิษฐ์ - ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
วางแผน
ออกแบบการประดิษฐ์ของเล่น รู้ถึงคุณค่าของของเล่น วิธีเก็บรักษาและเลือกเล่นของเล่นที่ทำจากปูนพลาสเตอร์เหมาะสมกับตัวเองได้
ทักษะ ทักษะชีวิต - ออกแบบชิ้นงานได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ - เก็บกวาดอุปกรณ์หลังใช้งานทุกครั้ง ทักษะการสื่อสาร สามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการทำให้ครูและเพื่อนฟังได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานเป็นกลุ่มได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
14 – 18
ธ.ค. 58
|
โจทย์ :
ย้อนเวลาหาของเล่น
คำถาม
- นักเรียนคิดว่าในอดีตมีของเล่นอะไรบ้างที่เราไม่รู้จัก
- นักเรียนคิดว่าในแต่ละภาคมีการละเล่นอะไรที่น่าสนใจบ้าง
เครื่องมือคิด
- Round robinเกี่ยวกับข้อมูลการละเล่นของแต่ละภาค
- Brainstorms ระดมความคิดเกี่ยวกับข้อมูลการละเล่นของแต่ละภาค
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - หนังสือ
- อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- คลิปการประดิษฐ์ของเล่น |
กิจกรรม
- แบ่งกลุ่มออกเป็น 4 กลุ่ม และให้แต่ละกลุ่มหาข้อมูลเกี่ยวกับการละเล่นของแต่ละภาค - สรุปข้อมูลเกี่ยวกับการละเล่น ในรูปแบบการเขียน - นำเสนอข้อมูลของแต่ละกลุ่มให้เพื่อนๆและคุณครูร่วมอภิปรายในชั้นเรียน - สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ |
ภาระงาน
- ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับการละเล่นในแต่ละภาค - นำเสนอข้อมูล
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
-ข้อมูลเกี่ยวกับการละเล่นของแต่ละภาค
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ :
เข้าใจและสามารถอธิบายถึงการละเล่นของแต่ละภาคได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
ทักษะ ทักษะชีวิต - ออกแบบชิ้นงานได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ - เก็บกวาดอุปกรณ์หลังใช้งานทุกครั้ง ทักษะการสื่อสาร สามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการทำให้ครูและเพื่อนฟังได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานเป็นกลุ่มได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
21 – 25
ธ.ค.
58
|
โจทย์ :
การละเล่นของแต่ละภาค
คำถาม
- นักเรียนจะถ่ายทอดเรื่องราวผ่านการแสดงอย่างไรให้ผู้อื่นเข้าใจ
เครื่องมือคิด
- Round robinเกี่ยวกับข้อมูลการละเล่นของแต่ละภาค
- Brainstorms ระดมความคิดเกี่ยวกับการแสดงละคร
- Wall Thinking ติดชิ้นงาน สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - หนังสือ
- อินเตอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- คลิปการประดิษฐ์ของเล่น |
กิจกรรม
- นักเรียนออกแบบ Story broad การแสดง และบทบาทหน้าที่ในการทำงาน - นักเรียนนำเสนอ Story broad บทบาทการแสดงให้คุณครูและเพื่อนๆในชั้นเรียนฟัง - ซ้อมการแสดงของแต่ละกลุ่ม - นำข้อมูลของแต่ละกลุ่มมานำเสนอผ่านการแสดงละคร - อภิปรายเกี่ยวกับสิ่งที่ทำผ่านมาแล้ว มีปัญหาอะไร แล้วแก้ไขปัญหาอย่างไร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ภาระงาน
- นำเสนอข้อมูล - แสดงละคร
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ |
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
อย่างมีขั้นตอนและสร้างสรรค์
ทักษะ ทักษะชีวิต - ออกแบบชิ้นงานได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ - เก็บกวาดอุปกรณ์หลังใช้งานทุกครั้ง ทักษะการสื่อสาร สามารถพูดอธิบายเกี่ยวกับขั้นตอนการทำให้ครูและเพื่อนฟังได้อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล ทักษะการจัดการข้อมูล สามารถคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหากระบวนการทำงานเป็นกลุ่มได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
คุณลักษณะ
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น - กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
10
28-31 ธ.ค. 58 |
โจทย์ : สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
คำถาม - นักเรียนจะเผยแพร่องค์ความรู้การประดิษฐ์เล่นของให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร - สิ่งที่ทำดีแล้ว และสิ่งที่ควรปรับปรุงมีอะไรบ้าง
เครื่องมือคิด
- Blackboard Share ความคิดเห็นสิ่งที่ทำได้ดีแล้ว กับสิ่งที่ควรปรับปรุงเกี่ยวกับการประดิษฐ์ของเล่น - ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter นี้ผ่านเครื่องมือ คิด Round Robin - สรุปองค์ความรู้หลังเรียนผ่านเครื่องมือ Mind Mapping - Show share สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ สื่อ / แหล่งเรียนรู้ - บรรยากาศในห้องเรียน - กระดาษ A4 |
กิจกรรม
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอด Quarter 3
- นักเรียนเขียนสรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ
Mind Mapping
- ตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ /ประเมินตนเอง
- จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ |
ภาระงาน
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่เรียนรู้ตลอด Quarter 3 - จัดนิทรรศการเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
- สรุปการเรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ Mind Mapping
ชิ้นงาน - Mind Mapping สรุปองค์ความรู้หลังเรียน
- นิทรรศการหนังสั้นและสื่อ
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้
:
เข้าใจและสามารถสรุปแก่นแท้ของการกระบวนการเรียนรู้เพื่อถ่ายทอดให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้ได้
ทักษะ ทักษะชีวิต - สามารถสร้างทางเลือกในการทำงานและเลือกสิ่งที่เหมาะสมในการเรียนรู้และการทำงานได้ ทักษะการสื่อสาร -สามารถนำเสนอสิ่งที่เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจผ่านกิจกรรมที่หลากหลายในรูปแบบต่างๆได้ ทักษะการจัดการข้อมูล -สามารถนำข้อมูลมาใช้ในการเรียนรู้และแก้ปัญหาสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้ ทักษะการอยู่ร่วมกัน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น คุณลักษณะ -รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น -กระตือรือร้นในการทำงาน และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ - ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย |